ม็อบบุกแบงก์ชาติ ยื่นอีก 5 หมื่นชื่อ ขวางการเมืองจุ้นเลือก ‘ปธ.บอร์ด’
ม็อบบุกแบงก์ชาติ ยื่นอีก 5 หมื่นชื่อ ขวางการ
11 พ.ย. 2567 – ที่บริเวณหน้าประตูธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ฝั่งใต้สะพานพระราม 8 เมื่อเวลา 09.30 น. กลุ่มมวลชน ซึ่งประกอบด้วย ม็อบบุกแบงก์ชาติ เครือข่ายประชาชนปฏิรูปประเทศไทย (คปท.), ศูนย์รวมประชาชนปกป้องสถาบัน (ศปปส.) และกองทัพธรรม เดินทางมาชุมนุมกันอีกครั้งเช่นเดียวกับวันที่ 4 พ.ย.67 เพื่อแสดงออกถึงการคัดค้านไม่ให้การเมืองเข้าแทรกแซงครอบงำ ธปท. ผ่านการเลือกประธานบอร์ด ธปท. พร้อมยื่นรายชื่อประชาชนที่คัดค้านอีก 51,980 รายชื่อ จากที่สัปดาห์ก่อนมายื่นไว้แล้ว 20,999 รายชื่อ โดยมี นายศรัณยกร อังคณากร ผู้อำนวยการฝ่ายกลยุทธ์สื่อสารและความสัมพันธ์องค์กร ธปท. เป็นผู้รับมอบหนังสือ
โดย คปท. ศปปส. และกองทัพธรรม ได้ออกแถลงการณ์ว่า มีความห่วงใยบ้านเมืองและผลประโยชน์ของประเทศชาติ ประชาชน ได้รวมพลังลงชื่อแสดงความคิดเห็นคัดค้านการเมืองแทรกแซง ธปท. เนื่องจากถ้ายอมให้ฝ่ายการเมืองแทรกแซง จะเป็นอันตรายยิ่งต่อการรักษาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจไทย ทำลายความน่าเชื่อถือของธนาคารกลาง และทำลายหน่วยงานหลักทางเศรษฐกิจของประเทศให้อ่อนแอ ม็อบบุกแบงก์ชาติ
จนไม่เหลือหน่วยงานที่จะทัดทานนโยบายเศรษฐกิจของฝ่ายการเมืองที่ไม่ถูกต้องได้
“บุคคลที่จะไปนั่งในตำแหน่งประธานกรรมการ และคณะกรรมการ ธปท. จึงต้องมือสะอาด ไม่มีประวัติด่างพร้อย และไม่ควรมีความเกี่ยวข้องใด ๆ กับกลุ่มธุรกิจและฝ่ายการเมือง มิฉะนั้น จะเกิดกรณีแสวงหาประโยชน์มหาศาล ม็อบบุกแบงก์ชาติ จากนโยบายที่เป็นความลับของ ธปท. บนหายนะของประเทศ ดังที่เกิดขึ้นแล้วในอดีต ดังนั้น จึงขอเรียกร้องให้คณะกรรมการคัดเลือกฯ ได้พิจารณาคุณสมบัติที่เหมาะสมของกรรมการคัดเลือก และปฏิบัติหน้าที่คัดเลือก ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต เที่ยงธรรม โปร่งใส และมีธรรมาภิบาล โดยไม่ยอมรับต่อแรงกดดันทางการเมือง” เนื้อหาที่ระบุไว้ในแถลงการณ์ เมืองจุ้นเลือก ‘ปธ.บอร์ด’
น.ส.ธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ ส.ส.กทม. พรรคเพื่อไทย รมช.มหาดไทย ให้สัมภาษณ์ พิเศษ เครือมติชน ในหลายๆ เรื่องทั้งบทบาทการทำงานในฐานะรัฐมนตรีป้ายแดง และ ส.ส. 1 เดียวใน กทม.ของพรรคเพื่อไทย ว่า ภารกิจที่ได้รับมอบหมายในกระทรวง คือ กรมการพัฒนาชุมชน, กรุงเทพมหานคร, องค์การตลาด และองค์การกำกับน้ำเสีย สำหรับกรุงเทพมหานคร
แม้จะมีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คอยดูแลอยู่
แต่กระทรวงมหาดไทยจะเข้าไปดูเพิ่มเติมคือ ม็อบบุกแบงก์ชาติ ด้านนโยบายต่างๆ เพื่อให้มีความสอดคล้องกับรัฐบาล และเพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดีที่สุด รวมถึงกำกับดูแลการใช้งบประมาณของกรุงเทพมหานครให้คุ้มค่า และมีประสิทธิภาพมากที่สุด ขณะที่กรมการพัฒนาชุมชน ในส่วนนี้จะเกี่ยวข้องกับสินค้าโอท็อปด้วย รวมถึงยังมีกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ที่เหมือนจะห่างหายไปหลายปีตั้งแต่รัฐบาล น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ซึ่งอาจไม่ได้รับการสนับสนุนอย่างเต็มที่ แต่นายกรัฐมนตรีแพทองธาร ชินวัตร ก็ได้มีดำริฟื้นฟูนโยบายนี้ให้มีความเข้มแข็งเพื่อพัฒนาสตรีให้มีสกิลที่จะหารายได้และเพิ่มทักษะในการทำมาหากินให้มากขึ้น